ปุ๋ยปลอม !! มีโทษทั้งจำและปรับ
ในยุคที่ปุ๋ยมีราคาสูงขึ้น มักมีผู้ฉวยโอกาสในการจำหน่ายหรือผลิต #ปุ๋ยปลอม กันมากขึ้น ซึ่งการที่เราจำหน่ายหรือผลิตปุ๋ยปลอมนั้น จะมีความผิดทางกฎหมาย
ผู้ผลิต ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 5-15 ปี และปรับตั้งแต่สองแสนบาท ถึง 2,000,000 บาท
ผู้ขายหรือผู้นำเข้า โทษจำคุก 3 – 10 ปี และโทษปรับ 120,000 – 400,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
.
#ปุ๋ยอินทรีย์ปลอม
1. วัตถุทำเทียม ทั้งหมดหรือบางส่วน เพื่อให้ผู้อื่นหลงเชื่อว่าเป็นปุ๋ยอินทรีย์
– เช่น การนำพวกวัสดุปลูก หรือส่วนประกอบที่ไม่เกี่ยวข้องมาจำหน่าย โดยติดที่ข้างฉลากหรือกระสอบว่าอินทรีย์ เป็นต้น
.
2. ปุ๋ยอินทรีย์ ที่แสดงชื่อว่าเป็นปุ๋ยอินทรีย์อื่นซึ่งไม่ตรงกับความจริง
– เช่น หน้ากระสอบเขียนว่า 3-1-1 แต่ตัวเนื้อปุ๋ย คือ 1-0.5-0.5 เป็นต้น
.
3. ปุ๋ยอินทรีย์ ที่แสดงชื่อ หรือ เครื่องหมายการค้า (โลโก้) ของผู้ผลิตปุ๋ยเคมีเพื่อการค้า หรือสถานที่ผลิตไม่ตรงกับความจริง
– เช่น การใช้เครื่องหมายการค้าที่ขึ้นทะเบียนเพื่อจำหน่ายสินค้าอื่น ๆ หรือ ใช้ที่อยู่ของโรงงานผลิตปุ๋ยที่ไม่มีอยู่จริง เป็นต้น
.
4. ปุ๋ยอินทรีย์ ที่แสดงว่าเป็นปุ๋ยอินทรีย์ขึ้นทะเบียนไว้ ซึ่งไม่ตรงกับความเป็นจริง
– เช่น มีการขึ้นทะเบียนว่าเป็นสูตร 3-1-1 แต่มีการผลิตออกมาเป็นสูตรอื่น ๆ เป็นต้น
.
5. ปุ๋ยอินทรีย์ ที่ผลิตขึ้นโดยมีปริมาณธาตุอาหารรับรองธาตุใดธาตุหนึ่ง ต่ำกว่าร้อยละสิบ ตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ หรือที่ระบุไว้บนฉลาก
– เช่น มีธาตุอาหารที่ไม่ตรงกับฉลากหรือกระสอบ หากมีการนำไปตรวจสอบธาตุอาหาร เป็นต้น
.
(สามารถดูข้อกำหนดสำหรับการขึ้นทะเบียนปุ๋ยอินทรีย์ได้ที่ https://idesignorganic.com/การขึ้นทะเบียนปุ๋ย/ )
.
จะเห็นได้ว่าคำนิยามของปุ๋ยปลอม จะไม่ใช่เพียงปุ๋ยที่ไม่สามารถใช้ได้เท่านั้น แต่ยังหมายถึงปุ๋ยที่วัตถุดิบไม่ได้มาตรฐาน ปุ๋ยที่ฉลากหรือกระสอบเขียนส่วนประกอบไม่ถูกต้อง ปุ๋ยที่ต้องมีสถานที่ผลิตไม่ถูกต้อง รวมถึงโลโก้ของปุ๋ยก็สำคัญเช่นกัน
.
เราจึงควรใช้โรงงานผลิตปุ๋ยที่ได้มาตรฐานและคุณภาพ รวมถึงมีบริการแบบครบวงจร ทั้งการขึ้นทะเบียนเครื่องหมายการค้า การขึ้นทะเบียนปุ๋ย รวมถึงออกแบบฉลากกและกระสอบ เพื่อลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นหากมีการตรวจสอบ
.
#ปุ๋ยเคมีปลอม
1. ปุ๋ยเคมี หรือ วัตถุทำเทียม ทั้งหมดหรือบางส่วน เพื่อให้ผู้อื่นหลงเชื่อว่าเป็นปุ๋ยเคมีแท้
– เช่น ปุ๋ยที่มีการใส่ส่วนประกอบอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ธาตุอาหารหลัก จำพวกโดโลไมท์ แล้วใช้คำว่าปุ๋ยเคมีบนหน้ากระสอบในการโฆษณา เป็นต้น
2. ปุ๋ยเคมี ที่แสดงชื่อว่าเป็นปุ๋ยเคมีอื่นซึ่งไม่ตรงกับความจริง
– เช่น หน้ากระสอบเขียนว่า 46-0-0 แต่ตัวเนื้อปุ๋ย คือ 15-15-15 เป็นต้น
3. ปุ๋ยเคมี ที่แสดงชื่อ หรือ เครื่องหมายการค้า (โลโก้) ของผู้ผลิตปุ๋ยเคมีเพื่อการค้า หรือสถานที่ผลิตไม่ตรงกับความจริง
– เช่น การใช้เครื่องหมายการค้าที่ขึ้นทะเบียนเพื่อจำหน่ายสินค้าอื่น ๆ หรือ ใช้ที่อยู่ของโรงงานผลิตปุ๋ยที่ไม่มีอยู่จริง เป็นต้น
4. ปุ๋ยเคมี ที่แสดงว่าเป็นปุ๋ยเคมีมาตรฐาน หรือเป็นปุ๋ยเคมีตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ ซึ่งไม่ตรงกับความเป็นจริง
– เช่น มีการขึ้นทะเบียนว่าเป็นสูตร 15-15-15 แต่มีการผลิตออกมาเป็นสูตรอื่น ๆ เป็นต้น
5. ปุ๋ยเคมี ที่ผลิตขึ้นโดยมีปริมาณธาตุอาหารรับรองธาตุใดธาตุหนึ่ง ต่ำกว่าร้อยละสิบ ตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ หรือที่ระบุไว้บนฉลาก
– เช่น มีธาตุอาหารที่ไม่ตรงกับฉลากหรือกระสอบ หากมีการนำไปตรวจสอบธาตุอาหาร เป็นต้น
(สามารถดูข้อกำหนดสำหรับการขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมีได้ที่ https://idesignorganic.com/การขึ้นทะเบียนปุ๋ย/ )
จะเห็นได้ว่าคำนิยามของปุ๋ยปลอมจะไม่ใช่เพียงปุ๋ยที่ไม่สามารถใช้ได้เท่านั้น แต่ยังหมายถึงปุ๋ยที่วัตถุดิบไม่ได้มาตรฐาน ปุ๋ยที่ฉลากหรือกระสอบเขียนส่วนประกอบไม่ถูกต้อง ปุ๋ยที่ต้องมีสถานที่ผลิตไม่ถูกต้อง รวมถึงโลโก้ของปุ๋ยก็สำคัญเช่นกัน
.
เราจึงควรใช้โรงงานผลิตปุ๋ยที่ได้มาตรฐานและคุณภาพ รวมถึงมีบริการแบบครบวงจร ทั้งการขึ้นทะเบียนเครื่องหมายการค้า การขึ้นทะเบียนปุ๋ย รวมถึงออกแบบฉลากกและกระสอบ เพื่อลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นหากมีการตรวจสอบ
ในยุคที่ปุ๋ยมีราคาสูงขึ้น มักมีผู้ฉวยโอกาสในการจำหน่ายหรือผลิต #ปุ๋ยปลอม กันมากขึ้น ซึ่งการที่เราจำหน่ายหรือผลิตปุ๋ยปลอมนั้น จะมีความผิดทางกฎหมาย
ผู้ผลิต ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 5-15 ปี และปรับตั้งแต่สองแสนบาท ถึง 2,000,000 บาท
ผู้ขายหรือผู้นำเข้า โทษจำคุก 3 – 10 ปี และโทษปรับ 120,000 – 400,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
.
#ปุ๋ยอินทรีย์ปลอม
1. วัตถุทำเทียม ทั้งหมดหรือบางส่วน เพื่อให้ผู้อื่นหลงเชื่อว่าเป็นปุ๋ยอินทรีย์
– เช่น การนำพวกวัสดุปลูก หรือส่วนประกอบที่ไม่เกี่ยวข้องมาจำหน่าย โดยติดที่ข้างฉลากหรือกระสอบว่าอินทรีย์ เป็นต้น
.
2. ปุ๋ยอินทรีย์ ที่แสดงชื่อว่าเป็นปุ๋ยอินทรีย์อื่นซึ่งไม่ตรงกับความจริง
– เช่น หน้ากระสอบเขียนว่า 3-1-1 แต่ตัวเนื้อปุ๋ย คือ 1-0.5-0.5 เป็นต้น
.
3. ปุ๋ยอินทรีย์ ที่แสดงชื่อ หรือ เครื่องหมายการค้า (โลโก้) ของผู้ผลิตปุ๋ยเคมีเพื่อการค้า หรือสถานที่ผลิตไม่ตรงกับความจริง
– เช่น การใช้เครื่องหมายการค้าที่ขึ้นทะเบียนเพื่อจำหน่ายสินค้าอื่น ๆ หรือ ใช้ที่อยู่ของโรงงานผลิตปุ๋ยที่ไม่มีอยู่จริง เป็นต้น
.
4. ปุ๋ยอินทรีย์ ที่แสดงว่าเป็นปุ๋ยอินทรีย์ขึ้นทะเบียนไว้ ซึ่งไม่ตรงกับความเป็นจริง
– เช่น มีการขึ้นทะเบียนว่าเป็นสูตร 3-1-1 แต่มีการผลิตออกมาเป็นสูตรอื่น ๆ เป็นต้น
.
5. ปุ๋ยอินทรีย์ ที่ผลิตขึ้นโดยมีปริมาณธาตุอาหารรับรองธาตุใดธาตุหนึ่ง ต่ำกว่าร้อยละสิบ ตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ หรือที่ระบุไว้บนฉลาก
– เช่น มีธาตุอาหารที่ไม่ตรงกับฉลากหรือกระสอบ หากมีการนำไปตรวจสอบธาตุอาหาร เป็นต้น
.
(สามารถดูข้อกำหนดสำหรับการขึ้นทะเบียนปุ๋ยอินทรีย์ได้ที่ https://idesignorganic.com/การขึ้นทะเบียนปุ๋ย/ )
.
จะเห็นได้ว่าคำนิยามของปุ๋ยปลอม จะไม่ใช่เพียงปุ๋ยที่ไม่สามารถใช้ได้เท่านั้น แต่ยังหมายถึงปุ๋ยที่วัตถุดิบไม่ได้มาตรฐาน ปุ๋ยที่ฉลากหรือกระสอบเขียนส่วนประกอบไม่ถูกต้อง ปุ๋ยที่ต้องมีสถานที่ผลิตไม่ถูกต้อง รวมถึงโลโก้ของปุ๋ยก็สำคัญเช่นกัน
.
เราจึงควรใช้โรงงานผลิตปุ๋ยที่ได้มาตรฐานและคุณภาพ รวมถึงมีบริการแบบครบวงจร ทั้งการขึ้นทะเบียนเครื่องหมายการค้า การขึ้นทะเบียนปุ๋ย รวมถึงออกแบบฉลากกและกระสอบ เพื่อลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นหากมีการตรวจสอบ
.
#ปุ๋ยเคมีปลอม
1. ปุ๋ยเคมี หรือ วัตถุทำเทียม ทั้งหมดหรือบางส่วน เพื่อให้ผู้อื่นหลงเชื่อว่าเป็นปุ๋ยเคมีแท้
– เช่น ปุ๋ยที่มีการใส่ส่วนประกอบอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ธาตุอาหารหลัก จำพวกโดโลไมท์ แล้วใช้คำว่าปุ๋ยเคมีบนหน้ากระสอบในการโฆษณา เป็นต้น
2. ปุ๋ยเคมี ที่แสดงชื่อว่าเป็นปุ๋ยเคมีอื่นซึ่งไม่ตรงกับความจริง
– เช่น หน้ากระสอบเขียนว่า 46-0-0 แต่ตัวเนื้อปุ๋ย คือ 15-15-15 เป็นต้น
3. ปุ๋ยเคมี ที่แสดงชื่อ หรือ เครื่องหมายการค้า (โลโก้) ของผู้ผลิตปุ๋ยเคมีเพื่อการค้า หรือสถานที่ผลิตไม่ตรงกับความจริง
– เช่น การใช้เครื่องหมายการค้าที่ขึ้นทะเบียนเพื่อจำหน่ายสินค้าอื่น ๆ หรือ ใช้ที่อยู่ของโรงงานผลิตปุ๋ยที่ไม่มีอยู่จริง เป็นต้น
4. ปุ๋ยเคมี ที่แสดงว่าเป็นปุ๋ยเคมีมาตรฐาน หรือเป็นปุ๋ยเคมีตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ ซึ่งไม่ตรงกับความเป็นจริง
– เช่น มีการขึ้นทะเบียนว่าเป็นสูตร 15-15-15 แต่มีการผลิตออกมาเป็นสูตรอื่น ๆ เป็นต้น
5. ปุ๋ยเคมี ที่ผลิตขึ้นโดยมีปริมาณธาตุอาหารรับรองธาตุใดธาตุหนึ่ง ต่ำกว่าร้อยละสิบ ตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ หรือที่ระบุไว้บนฉลาก
– เช่น มีธาตุอาหารที่ไม่ตรงกับฉลากหรือกระสอบ หากมีการนำไปตรวจสอบธาตุอาหาร เป็นต้น
(สามารถดูข้อกำหนดสำหรับการขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมีได้ที่ https://idesignorganic.com/การขึ้นทะเบียนปุ๋ย/ )
จะเห็นได้ว่าคำนิยามของปุ๋ยปลอมจะไม่ใช่เพียงปุ๋ยที่ไม่สามารถใช้ได้เท่านั้น แต่ยังหมายถึงปุ๋ยที่วัตถุดิบไม่ได้มาตรฐาน ปุ๋ยที่ฉลากหรือกระสอบเขียนส่วนประกอบไม่ถูกต้อง ปุ๋ยที่ต้องมีสถานที่ผลิตไม่ถูกต้อง รวมถึงโลโก้ของปุ๋ยก็สำคัญเช่นกัน
.
เราจึงควรใช้โรงงานผลิตปุ๋ยที่ได้มาตรฐานและคุณภาพ รวมถึงมีบริการแบบครบวงจร ทั้งการขึ้นทะเบียนเครื่องหมายการค้า การขึ้นทะเบียนปุ๋ย รวมถึงออกแบบฉลากกและกระสอบ เพื่อลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นหากมีการตรวจสอบ
——————————————
Organic Design รับผลิตปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ สารเสริมประสิทธิภาพ ปุ๋ยเคมี ทั้งชนิดน้ำ ชนิดผง และชนิดเม็ดในแบรนด์ของคุณเอง👩🔬โรงงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับปรุงดิน
ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยน้ำ รับผลิตปุ๋ยในแบรนด์ของคุณเอง “คุณภาพดี ราคาถูก”.สนใจติดต่อสอบถาม
🎥 https://www.youtube.com/channel/UCLe3IuaPjsjwdftbXjIRVxg
💻 http://idesignorganic.com
.
☎️ : 0876208888
Line ID : @organic.design (มี@นำหน้า)
ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยน้ำ รับผลิตปุ๋ยในแบรนด์ของคุณเอง “คุณภาพดี ราคาถูก”.สนใจติดต่อสอบถาม
🎥 https://www.youtube.com/channel/UCLe3IuaPjsjwdftbXjIRVxg
💻 http://idesignorganic.com
.
☎️ : 0876208888
Line ID : @organic.design (มี@นำหน้า)
facebook : https://www.facebook.com/iDesignOrganic
หรือกดจากมือถือ https://lin.ee/83it4SI
WhatsApp : https://wa.me/+066-0905500599
Telegram : https://t.me/OrganicDesignFertilizer
.
#โรงงานปุ๋ย #โรงงานรับผลิตปุ๋ย #รับผลิตปุ๋ยราคาถูก #รับผลิตปุ๋ยน้ำ #ปุ๋ยอินทรีย์
#ปุ๋ยอินทรีย์เคมี #ปุ๋ยเคมี #ปุ๋ยน้ำ #ฮาลาล #Halal #IFOAM #ISO9001 #ISO17025
#ขึ้นทะเบียนปุ๋ยครบวงจร #ส่งออกปุ๋ย